จรรยาภรณ์
ชัยเดช 57010918127
คณะ
การบัญชีและการจัดการ(AC)
บทที่ 1 การจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน
1.ข้อมูลหมายถึง
ข่าว สาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ในรูปแบบของตัวเลข ภาพ ตัวอักษร
และสัญลักษณ์ต่างๆ เช่นคะแนนสอบวิชาภาษาไทย ราคาสินค้า
จำนวนนักเรียนในโรงเรียน
2.ข้อมูลปฐมภูมิคือ
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลประเภทหนึ่งที่ใช้ในการวิจัย จัดเก็บจากต้นกำเนิดของข้อมูลโดยตรง จึงให้รายละเอียดที่ลึกซึ้ง ทันสมัย มีความผิดพลาดน้อย แต่เป็นข้อมูลที่ต้องนำมาจัดระเบียบ รวบรวมตีความ และประมวลผล เพื่อให้สามารถนำไปใช้ได้ง่ายขึ้น
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นข้อมูลประเภทหนึ่งที่ใช้ในการวิจัย จัดเก็บจากต้นกำเนิดของข้อมูลโดยตรง จึงให้รายละเอียดที่ลึกซึ้ง ทันสมัย มีความผิดพลาดน้อย แต่เป็นข้อมูลที่ต้องนำมาจัดระเบียบ รวบรวมตีความ และประมวลผล เพื่อให้สามารถนำไปใช้ได้ง่ายขึ้น
ยกตัวอย่างประกอบ การ สัมภาษณ์ส่วนบุคคล (Personal
Interview) มีการพบปะกันระหว่างผู้หาข้อมูล และผู้ให้ข้อมูล
ซึ่งอาจทำได้เป็นรายบุคคล ทีละคน หรือเปนการสัมภาษณ์กลุ่ม
หรือการอภิปรายเฉพาะกลุ่ม (Focus
Group Discussion)
3.ข้อมูลทุติยภูมิคือ
ข้อมูลที่ผู้อื่นรวบรวมไว้ให้แล้วบางครั้งอาจจะมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศผู้ใช้ข้อมูลมั่ยจำเป็นต้องไปสำรวจเอง
ยกตัวอย่างประกอบ ข้อมูลสถิติที่หน่วยงานรัฐบาลทำไว้แล้ว เช่น
สถิติจำนวนประชากรแต่ละจังหวัด
สถิติการส่งสินค้าออก สถิติการนำเข้าสินค้า ข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์เผยแพร่
เพื่อให้ใช้งานได้หรือนำไปประมวลผลต่อ
4.สารสนเทศหมายถึง
สารสนเทศ หรือสารนิเทศ (Information) เป็นคำเดียวกันซึ่งสามารถให้ความหมายอย่างกว้างๆ ว่าหมายถึง
ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ เรื่องราว ข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
ขณะเดียวกันก็มีความหมายในเชิงลึกว่า หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ที่ผ่านการประมวลผล
ซึ่งมีความหมายและสามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจในชีวิตประจำวัน หรือการทำงานนั้นๆ
5.จงอธิบายประเภทของสารสนเทศ
1.สารสนเทศจำแนกตามแหล่งสารสนเทศ
เป็นการจำแนกสารสนเทศตามการรวบรวมหรือจัดกระทำกับสารสนเทศ จำแนกได้ดังนี้
1.1 แหล่งปฐมภูมิ (Primary
Source) คือ สารสนเทศที่ได้มาจากต้นแหล่งโดยตรง
เป็นสารสนเทศทางวิชาการ ผลของการศึกษาค้นคว้า วิจัย รายงาน การค้นพบทฤษฎีใหม่ ๆ
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ซึ่งนำไปสู่การยอมรับเป็นทฤษฎีใหม่ที่เชื่อถือได้
สารสนเทศประเภทนี้มักจะถูกถ่ายทอดออกมาในลักษณะของสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร
รายงานการวิจัย รายงานการประชุมมและสัมมนาวิชาการ สิทธิบัตร เอกสารมาตรฐานต่าง ๆ
ต้นฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ วิทยานิพนธ์ และการถ่ายทอดทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
1.2 แหล่งทุติยภูมิ (Secondary
Source) คือ สารสนเทศที่มีการรวบรวม
เรียบเรียงขึ้นใหม่จากแหล่งสารสนเทศปฐมภูมิ มักจะอยู่ในรูปแบบการสรุป ย่อเรื่อง
จัดหมวดหมู่ ทำดรรชนีและสาระสังเขป
เพื่อประโยชน์ในการเข้าถึงและสามารถใช้ข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ได้แก่
สื่ออ้างอิงประเภทต่าง ๆ วารสารที่มีการสรุปย่อและตีความ รวมถึงหนังสือ ตำรา
ที่รวบรวมเนื้อหาวิชาการในการเรียนการสอน สารานุกรม พจนานุกรม รายงานสถิติต่าง ๆ
ดรรชนีและสาระสังเขป
1.3
แหล่งตติยภูมิ (Tertiary
Source) คือ
สารสนเทศทีจัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการค้นหาสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมและทุติยภูมิ
จะไม่ได้ให้เนื้อหาสาระโดยตรง แต่จะมีประโยชน์ในการค้นหาสารสนเทศที่ให้ความรู้เฉพาะสาขาวิชา
ได้แก่ บรรณานุกรม นามานุกรม
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จึงได้มีการจัดเก็บบันทึกข้อมูลไว้
ในสื่อคอมพิวเตอร์ มักจะออกนำเผยแพร่ในรูปของ CD-ROM ฐานข้อมูลออฟไลน์
2. สารสนเทศจำแนกตามสื่อที่จัดเก็บ เป็นการจำแนกสารสนเทศตามชนิดของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
ข่าวสาร ความรู้ ได้แก่ กระดาษ วัสดุย่อส่วน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และสื่อแสง
2.1
กระดาษ เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูล สารสนเทศ ที่ใช้ง่ายต่อการบันทีก รวมทั้งการเขียนและการพิมพ์ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันจนถึงปัจจุบัน
2.2
วัสดุย่อส่วน
เป็นสื่อที่ถูกสำเนาย่อส่วนลงบนแผ่นฟิล์มชนิดต่าง ๆ
ทั้งที่เป็นม้วนและเป็นแผ่น
มีการจัดเรียงลำดับเนื้อหาตามต้น เช่น เอกสารจดหมายเหตุ หนังสือพิมพ์ เอกสารสำคัญ วิทยานิพนธ์ เป็นต้น
2.3 สื่อ อิเล็กทรอนิกหรือสื่อแม่เหล็ก เป็นวัสดุสังเคราะห์เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก
สามารถบันทึกและแก้ไขข้อมูลได้สะดวกทั้งข้อมูลที่เป็นแอนาล็อก และดิจิตอล เช่น
เทปวีดิทัศน์ เทปบันทึกเสียง ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
2.4
สื่อแสงหรือสื่อออปติก (Optical
Media)
เป็นสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลและอ่านข้อมูลด้วยแสงเลเซอร์ เช่น ซีดี-รอม ดีวิดี
เป็นต้น ซึ่งมีความจุมากเป็นพิเศษ
6.ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเป็นตัวเลขข้อความรูปภาพเสียง
คือ ข้อมูล
7.ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล
เป็น สารสนเทศ
8.ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ละคน
เป็น ปฐมภูมิ
9.ผลของการลงทะเบียน
เป็น ทุติยภูมิ
10.กราฟแสดงจำนวนนิสิตในห้องเรียนวิชาวิชาการจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวันSectionวันอังคาร
เป็น
ตติยภูมิ
บทที่ 2 บทบาทสารสนเทศกับสังคม
คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ให้นิสิตหารายชื่อเว็บไซต์หรือเทคโนโลยีที่ให้บริการต่าง
ๆ ตามหัวข้อเหล่านี้มาอย่างละ 3 รายการ
1.1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการศึกษา
1.2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพธุรกิจ
พาณิชย์ และสำนักงาน
1.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพการสื่อสารมวลชน
1.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางอุตสาหกรรม
1.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางการแพทย์
1.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทหารตำรวจ
1.7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพวิศวกรรม
1.8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพด้านเกษตรกรรม
1.9
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับคนพิการต่าง ๆ
2.
มหาวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษาให้กับท่าน มีอะไรบ้าง
บอกมาอย่างน้อย 3 อย่าง
3. ข้อ 2
จงวิเคราะห์ว่าท่านจะเอาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองอย่างไรบ้าง
1.1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการศึกษา
: http://www.stou.ac.th/study/bachelor/
: http://www.web.msu.ac.th/news.php?gid=ELEARNING
: http://www.stou.ac.th/study/bachelor/
1.2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพธุรกิจ พาณิชย์ และสำนักงาน
: http://www.weloveshopping.com/
: http://www.amazon.com
: http://www.shopat7.com/
1.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพการสื่อสารมวลชน
: http://bangyai9675mhz.tht.in/
: http://www.cattelecom.com/site/th/main.php
: http://www.mcot.net/ModerNineTV
1.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางอุตสาหกรรม
: http://www.thaitobacco.or.th/
: http://www.mitrphol.com/th/index.php
: http://www.skmould.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=290914
1.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางการแพทย์
: http://clinic.worldmedic.com/main/index.php
: http://www.doctor.or.th/taxonomy/term/93/all
: http://www.thailabonline.com/
1.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทหารตำรวจ
: http://www.royalthaipolice.go.th/
: http://www.pinonlines.com/node/14079
: http://www.rta.mi.th/torbor.html
1.7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพวิศวกรรม
: http://medi.moph.go.th/
: http://www.yotathai.net/
: http://www.dpt.go.th/
1.8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพเกษตรกรรม
: http://www.kasetporpeang.com/
: http://kasetonline.com/
: http://www.rakbankerd.com/agriculture/
1.9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับคนพิการต่างๆ
: http://www.rs.mahidol.ac.th/thai/library.html
: http://www.komchadluek.net/detail
: ttp://elearning.nectec.or.th/index.php?mod=Courses&op=showcontent&cid=50&lid=380&page=1
2. มหาวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านศึกษาให้ท่าน มีอะไรบ้าง
: ระบบการลงทะเบียน
: ระบบ e-learning
: ห้องสมุดกิจกรรม ออนไลน์
3. ข้อ2 จงวิเคราะห์ว่าท่านจะเอาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองอย่างไรบ้าง
: ระบบการลงทะเบียน ใช้การการลงทะเบียน เช็คตารางเรียน ตารางสอบ ความเคลื่อนไหวต่างๆ ของมหาวิทยาลัย
: http://www.web.msu.ac.th/news.php?gid=ELEARNING
: http://www.stou.ac.th/study/bachelor/
1.2 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพธุรกิจ พาณิชย์ และสำนักงาน
: http://www.weloveshopping.com/
: http://www.amazon.com
: http://www.shopat7.com/
1.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพการสื่อสารมวลชน
: http://bangyai9675mhz.tht.in/
: http://www.cattelecom.com/site/th/main.php
: http://www.mcot.net/ModerNineTV
1.4 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางอุตสาหกรรม
: http://www.thaitobacco.or.th/
: http://www.mitrphol.com/th/index.php
: http://www.skmould.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=290914
1.5 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางการแพทย์
: http://clinic.worldmedic.com/main/index.php
: http://www.doctor.or.th/taxonomy/term/93/all
: http://www.thailabonline.com/
1.6 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทหารตำรวจ
: http://www.royalthaipolice.go.th/
: http://www.pinonlines.com/node/14079
: http://www.rta.mi.th/torbor.html
1.7 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพวิศวกรรม
: http://medi.moph.go.th/
: http://www.yotathai.net/
: http://www.dpt.go.th/
1.8 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพเกษตรกรรม
: http://www.kasetporpeang.com/
: http://kasetonline.com/
: http://www.rakbankerd.com/agriculture/
1.9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับคนพิการต่างๆ
: http://www.rs.mahidol.ac.th/thai/library.html
: http://www.komchadluek.net/detail
: ttp://elearning.nectec.or.th/index.php?mod=Courses&op=showcontent&cid=50&lid=380&page=1
2. มหาวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านศึกษาให้ท่าน มีอะไรบ้าง
: ระบบการลงทะเบียน
: ระบบ e-learning
: ห้องสมุดกิจกรรม ออนไลน์
3. ข้อ2 จงวิเคราะห์ว่าท่านจะเอาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองอย่างไรบ้าง
: ระบบการลงทะเบียน ใช้การการลงทะเบียน เช็คตารางเรียน ตารางสอบ ความเคลื่อนไหวต่างๆ ของมหาวิทยาลัย
แบบฝึกหัดบทที่ 3 การรับรู้สาระสนเทศ
1.
ข้อใดเป็นความหมายที่ถูกต้องที่สุดของการเรียนรู้สารสนเทศ
: ง. ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง ประเมิน และการใช้งานสารสนเทศ
2. จากกระบวนการของการเรียนรู้สารสนเทศทั้ง 5 ประการ ประการไหนสำคัญที่สุด
: ข. ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
: ค. ชอบคอมพิวเตอร์ในการเล่นเกม
4. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ
: ก. โลกมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก โดยเน้นวัตถุนิยมมากขึ้น
5. ข้อใดเป็นการเรียงลำดับขั้นตอนของระบวนการเรียนรู้สารสนเทศที่ถูกต้อง
: ง. - 4 ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
- 3 ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
- 5 ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการสารสนเทศ
- 1 ความสามรถในการประมวลสารสนเทศ
- 2 ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
: ง. ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง ประเมิน และการใช้งานสารสนเทศ
2. จากกระบวนการของการเรียนรู้สารสนเทศทั้ง 5 ประการ ประการไหนสำคัญที่สุด
: ข. ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
3. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
: ค. ชอบคอมพิวเตอร์ในการเล่นเกม
4. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ
: ก. โลกมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก โดยเน้นวัตถุนิยมมากขึ้น
5. ข้อใดเป็นการเรียงลำดับขั้นตอนของระบวนการเรียนรู้สารสนเทศที่ถูกต้อง
: ง. - 4 ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
- 3 ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
- 5 ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการสารสนเทศ
- 1 ความสามรถในการประมวลสารสนเทศ
- 2 ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
แบบฝึกหัดบทที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ
คำชี้แจง จงตอบคำถามต่อไปนี้
ใ ให้นิสิตยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามหัวข้อต่อไปนี้
อย่างน้อยหัวข้อละ 3 ชนิด แล้วแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบกับเพื่อน
1) การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล
- แผ่นซีดี
- ฮาร์ดดิสท์
- USB ไดร์ฟ
2) การแสดงผล
- จอภาพ คอมพิวเตอร์
- จอโปรเจ็กเตอร์
- เครื่องพิมพ์
3) การประมวลผล
- ซอฟต์แวร์
- ฮาร์ดแวร์
- OS
4) การสื่อสารและเครือข่าย
- อินเตอร์เน็ต
- การประชุมผ่านทางจอภาพ
- ห้องสมุดอีเล็กทรอนิกส์
2. ให้นิสิตนำตัวเลขในช่องขวา
มาเติมหน้าข้อความในช่องซ้ายที่มีความที่สัมพันธ์กัน
8 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
|
1. ส่วนใหญ่ใช้ทำหน้าที่คำนวณ
ประมวลผลข้อมูล
|
3 Information Technology
|
2. e-Revenue
|
1 คอมพิวเตอร์ในยุคประมวลผลข้อมูล
|
3. เทคโนโลยี
ต่าง ๆ ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินการเกี่ยวกับสารสนเทศ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้องแม่นยำ และความรวดเร็วต่อการนำไปใช้
|
6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบด้วย
|
4.มีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน ได้แก่ Sender Medium และDecoder
|
10 ช่วยเพิ่มผลผลิต
เพิ่มต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการททำงาน
|
5. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย
|
7 ซอฟต์แวร์ระบบ
|
6. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
|
9 การนำเสนอบทเรียนในรูปมัลติมีเดีย
ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองได้ตามระดับความสามารถ
|
7. โปรแกรมที่ทำหน้าที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ
ภายในระบบคอมพิวเตอร์
|
5 EDI
|
8. โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
จัดเป็นซอฟต์แวร์ประเภท
|
4 การสื่อสารโทรคมนาคม
|
9. CAI
|
2 บริการชำระภาษีออนไลน์
|
10. ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
|
แบบฝึกหัดบทที่ 5 การจัดการสารสนเทศ
คำชี้แจง
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. จงอธิบายความหมายของการจัดการสารสนเทศการจัดการ
ตอบ สารสนเทศ หมายถึง การทำกิจกรรมหลัก ต่างๆ ในการจัดหา การจัดโครงสร้าง (organization) การควบคุม ผลิต การเผยแพร่และการใช้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานขององค์การทุก ประเภทอย่างมีประสิทธิผล ซึ่งสารสนเทศในที่นี้หมายถึงสารสนเทศทุกประเภทที่มีคุณค่าไม่ว่าจะมีแหล่ง กำเนิดจากภายในหรือภายนอกองค์การ (Wilson 2003 อ้างใน Kirk, 2005, p.21)
การจัดการสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการดำเนินงาน เช่น ทำดรรชนี การจัดหมวดหมู่ การจัดแฟ้มการทำรายการเพื่อการเข้าถึงเอกสารหรือสารสนเทศที่มีการบันทึกไว้ ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่จดหมายเหตุ
(archive) เชิงประวัติ ถึงข้อมูลดิจิทัล (Middleton, 2002, p.13)
การจัดการสารสนเทศ หมายถึง การดำเนินการกับสารสนเทศในระดับองค์การ ได้แก่ การวางแผน การ จัดสรรงบประมาณ การจัดโครงสร้างองค์การ การจัดเจ้าหน้าที่ การกำหนดทิศทาง การฝึกอบรม และการ
ควบคุมสารสนเทศ (Bent, 1999 อ้างใน Myburgh, 2000, p.10)
กล่าวโดยสรุป การจัดการสารสนเทศ ความหมายถึง การผลิต จัดเก็บ ประมวลผล ค้นหา และเผยแพร่ สารสนเทศโดยจัดให้มีระบบสารสนเทศ การกระจายของสารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยมีการนำเทคโนโลยีต่างๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมาใช้ในการจัดการ รวมทั้งมีนโยบาย หรือ กลยุทธ์ระดับองค์การในการจัดการสารสนเทศ
2. การจัดการสารสนเทศมีความสําคัญต่อบุคคลและต่อองค์การอย่างไร
ตอบ 1.ความสำคัญของการจัดการสารสนเทศต่อบุคคล
การจัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อบุคคลในด้านการดำรงชีวิตประจำวัน การศึกษา และการทำงานประกอบอาชีพ ต่างๆ การจัดการสารสนเทศอย่างเป็นระบบ โดยการจัดทำฐานข้อมูลส่วนบุคคล รวบรวมทั้งข้อมูลการดำรงชีวิต การศึกษา และการทำงานประกอบอาชีพต่างๆ ในการดำรงชีวิตประจำวัน บุคคลย่อมต้องการสารสนเทศหลายด้านเพื่อใช้ชีวิตได้อย่างราบรื่น มีความก้าวหน้า และมีความสุข อาทิ ต้องการสารสนเทศเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพ ต้องจัดการค่าใช้จ่ายในครอบครัว ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล การดูแลอาคารที่อยู่อาศัยต่างๆ ตลอดจนการเลี้ยงดูคนในครอบครัวให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถที่ทำคุณประโยชน์แก่สังคม จึงจำเป็นต้องคัดกรองสารสนเทศที่มีอยู่มากมายจากหลายแหล่งเพื่อจัดเก็บ จัดทำระบบ และเรียกใช้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วความสำคัญในด้านการศึกษา การจัดการสารสนเทศด้านระบบการศึกษา เอื้ออำนวยให้บุคคลสามารถเลือกระบบการศึกษา การเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมกับบุคคลแต่ละคน สามารถเรียนรู้และศึกษาได้ตลอดเวลาตามความสนใจเฉพาะตน โดยไม่จำเป็นต้องสอบเข้าศึกษาตามสถาบันการศึกษาที่จัดระบบที่มีชั้นเรียน ตลอดไป บุคคลสามารถเลือกศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ติดต่อกับสถาบันการศึกษาในระบบเปิดหรือเรียนทางระบบออนไลน์ และเลือกเรียนได้ทุกระดับการศึกษา ทุกวัย นับเป็นปรัชญาการศึกษาตลอดชีวิต ความสำคัญในด้านการทำงาน บุคคลจำเป็นต้องใช้สารสนเทศทั้งที่เกี่ยวข้องกับองค์การ ภาระหน้าที่ ประกอบการทำงานทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ การจัดเก็บสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบตามภารกิจส่วนตน ช่วยสนับสนุนให้สามารถทำงานให้ประสบความสำเร็จได้ทันการณ์ ทันเวลา
1. จงอธิบายความหมายของการจัดการสารสนเทศการจัดการ
ตอบ สารสนเทศ หมายถึง การทำกิจกรรมหลัก ต่างๆ ในการจัดหา การจัดโครงสร้าง (organization) การควบคุม ผลิต การเผยแพร่และการใช้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานขององค์การทุก ประเภทอย่างมีประสิทธิผล ซึ่งสารสนเทศในที่นี้หมายถึงสารสนเทศทุกประเภทที่มีคุณค่าไม่ว่าจะมีแหล่ง กำเนิดจากภายในหรือภายนอกองค์การ (Wilson 2003 อ้างใน Kirk, 2005, p.21)
การจัดการสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการดำเนินงาน เช่น ทำดรรชนี การจัดหมวดหมู่ การจัดแฟ้มการทำรายการเพื่อการเข้าถึงเอกสารหรือสารสนเทศที่มีการบันทึกไว้ ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่จดหมายเหตุ
(archive) เชิงประวัติ ถึงข้อมูลดิจิทัล (Middleton, 2002, p.13)
การจัดการสารสนเทศ หมายถึง การดำเนินการกับสารสนเทศในระดับองค์การ ได้แก่ การวางแผน การ จัดสรรงบประมาณ การจัดโครงสร้างองค์การ การจัดเจ้าหน้าที่ การกำหนดทิศทาง การฝึกอบรม และการ
ควบคุมสารสนเทศ (Bent, 1999 อ้างใน Myburgh, 2000, p.10)
กล่าวโดยสรุป การจัดการสารสนเทศ ความหมายถึง การผลิต จัดเก็บ ประมวลผล ค้นหา และเผยแพร่ สารสนเทศโดยจัดให้มีระบบสารสนเทศ การกระจายของสารสนเทศ ทั้งภายในและภายนอกองค์การ โดยมีการนำเทคโนโลยีต่างๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารมาใช้ในการจัดการ รวมทั้งมีนโยบาย หรือ กลยุทธ์ระดับองค์การในการจัดการสารสนเทศ
2. การจัดการสารสนเทศมีความสําคัญต่อบุคคลและต่อองค์การอย่างไร
ตอบ 1.ความสำคัญของการจัดการสารสนเทศต่อบุคคล
การจัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อบุคคลในด้านการดำรงชีวิตประจำวัน การศึกษา และการทำงานประกอบอาชีพ ต่างๆ การจัดการสารสนเทศอย่างเป็นระบบ โดยการจัดทำฐานข้อมูลส่วนบุคคล รวบรวมทั้งข้อมูลการดำรงชีวิต การศึกษา และการทำงานประกอบอาชีพต่างๆ ในการดำรงชีวิตประจำวัน บุคคลย่อมต้องการสารสนเทศหลายด้านเพื่อใช้ชีวิตได้อย่างราบรื่น มีความก้าวหน้า และมีความสุข อาทิ ต้องการสารสนเทศเพื่อการดูแลรักษาสุขภาพ ต้องจัดการค่าใช้จ่ายในครอบครัว ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล การดูแลอาคารที่อยู่อาศัยต่างๆ ตลอดจนการเลี้ยงดูคนในครอบครัวให้เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีความรู้ความสามารถที่ทำคุณประโยชน์แก่สังคม จึงจำเป็นต้องคัดกรองสารสนเทศที่มีอยู่มากมายจากหลายแหล่งเพื่อจัดเก็บ จัดทำระบบ และเรียกใช้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็วความสำคัญในด้านการศึกษา การจัดการสารสนเทศด้านระบบการศึกษา เอื้ออำนวยให้บุคคลสามารถเลือกระบบการศึกษา การเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมกับบุคคลแต่ละคน สามารถเรียนรู้และศึกษาได้ตลอดเวลาตามความสนใจเฉพาะตน โดยไม่จำเป็นต้องสอบเข้าศึกษาตามสถาบันการศึกษาที่จัดระบบที่มีชั้นเรียน ตลอดไป บุคคลสามารถเลือกศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา ติดต่อกับสถาบันการศึกษาในระบบเปิดหรือเรียนทางระบบออนไลน์ และเลือกเรียนได้ทุกระดับการศึกษา ทุกวัย นับเป็นปรัชญาการศึกษาตลอดชีวิต ความสำคัญในด้านการทำงาน บุคคลจำเป็นต้องใช้สารสนเทศทั้งที่เกี่ยวข้องกับองค์การ ภาระหน้าที่ ประกอบการทำงานทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ การจัดเก็บสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับความรับผิดชอบตามภารกิจส่วนตน ช่วยสนับสนุนให้สามารถทำงานให้ประสบความสำเร็จได้ทันการณ์ ทันเวลา
2. ความสำคัญของการจัดการสารสนเทศต่อองค์การ
การจัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อองค์การในด้านการบริหารจัดการ
การดำเนินงาน และกฎหมาย ดังนี้
1) ความสำคัญด้านการบริหารจัดการ การบริหารจัดการในยุคโลกาภิวัตน์เป็นการบริหารภายใต้สภาวะที่มีการเปลี่ยน แปลงอย่างรวดเร็ว และมีการแข่งขันกันทางธุรกิจสูง ผู้บริหารต้องอาศัยสารสนเทศที่เกี่ยวข้องทั้งกับสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก องค์การ เพื่อวิเคราะห์ปัญหา ทางเลือกในการแก้ปัญหา การตัดสินใจ การกำหนดทิศทางขององค์การ ให้สามารถแข่งขันกับองค์การคู่แข่งต่างๆ จึงจำเป็นต้องได้รับสารสนเทศ ที่เหมาะสม ถูกต้อง ครบถ้วน ทันการณ์ และทันสมัย เพื่อใช้ประกอบภารกิจตามหน้าที่ ตามระดับการบริหาร การจัดการสารสนเทศจึงนับว่ามีความสำคัญ ความจำเป็นที่ต้องมีการออกแบบระบบการจัดการสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ การเลือกใช้เครื่องมือ เทคโนโลยี รวมทั้งกำหนดนโยบาย กระบวนการและกฎระเบียบ เพื่อจัดการสารสนเทศให้เหมาะกับสภาพการนำสารสนเทศไปใช้ในการบริหารงาน ในระดับต่างๆไม่ว่าจะเป็นระดับต้นหรือปฏิบัติการ ระดับกลาง และระดับสูง ให้สามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
2) ความสำคัญด้านการดำเนินงาน สารสนเทศนับมีความสำคัญต่อการดำเนินงานในหลายลักษณะ เป็นทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการดำเนินงาน และหลักฐานที่บันทึกการดำเนินงานในด้านต่างๆ ตามที่หน่วยงานดำเนินการ การจัดการสารสนเทศช่วยให้การใช้สารสนเทศเพื่อรองรับการปฏิบัติงานตามกระแส งานหรือขั้นตอน จึงสามารถเพิ่มประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการดำเนินงาน เอื้อให้เข้าถึงและใช้สารสนเทศได้อย่างสะดวก การเป็นหลักฐานที่บันทึกการดำเนินงานเช่น สัญญาการตกลงลงนามร่วมกิจการระหว่างองค์การ รายงานทางการเงินประจำปี เป็นต้น เป็นสารสนเทศที่หน่วยงานผลิตและใช้ประกอบการดำเนินงานตาม ภาระหน้าที่ ตามข้อกำหนด ระเบียบ และแนวปฏิบัติในองค์การ สารสนเทศเหล่านี้ต้องมีการรวบรวม ประมวล และจัดอย่างเป็นระบบเพื่อให้มีความเป็นปัจจุบัน ถูกต้อง ครบถ้วนและเหมาะสมกับงานนั้น และในการจัดการ สารสนเทศที่แม้สิ้นสุดกระบวนการปฏิบัติงานแล้ว โดยเฉพาะสารสนเทศที่มีคุณค่า ยังต้องมีการจัดเก็บเป็นจดหมายเหตุเพื่อการใช้ประโยชน์
3) ความสำคัญด้านกฎหมาย การจัดการสารสนเทศเพื่อการดำเนินงาน จำเป็นต้องสอดคล้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบและข้อบังคับทั้งในระดับภายในและภายนอกองค์การ โดยเฉพาะสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการเงินและบัญชีที่ต้องรวบรวมจัดเก็บอย่าง ต่อเนื่อง เป็นระบบ รวมทั้งมีการตรวจสอบความถูกต้องทั้งจากหน่วยงานภายในองค์การ หรือจากหน่วยงานภายนอกตามกฎหมาย เช่น ผู้ตรวจสอบบัญชีตามกฎหมายของหน่วยงานราชการ เช่น กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และหน่วยงานเอกชน เป็นต้น เพื่อเป็นการแสดงสถานะทางการเงินขององค์การอย่างถูกต้อง และเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับต่างๆ อย่างครบถ้วน ทั้งนี้เนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต้องมีบทลงโทษ
3. พัฒนาการของการจัดการสารสนเทศแบ่งออกเป็นกี่ยุค อะไรบ้าง
ตอบ มี 2 ยุค
1. การจัดการสารสนเทศด้วยระบบมือ
2. การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพิวเตอร์
4. จงยกตัวอย่างการจัดการสารสนเทศที่นิสิตใช้ในชีวิตประจำวันมา อย่างน้อย 3 ตัวอย่าง
ตอบ 1.โทรศัพท์มือถือ 2.คอมพิวเตอร์ 3.กล้องถ่ายรูป
คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. การประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นความหมายของข้อใด?
2. เทศโนโลยี
2. เทคโนโลยีสารสนเทศใดก่อให้เกิดผลด้านการเสริมสร้างความเท่าเทียมกันในสังคม?
3. การสร้างสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3. การฝากถอนเงินผ่านเอทีเอ็ม (ATM) เป็นลักษณะเด่นของเทคโนโลยีสารสนเทศข้อใด?
1. ระบบอัตโนมัติ
4. ข้อใดคือการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ?
4. ถูกทุกข้อ
5. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงข้อใด?
3. การนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์มาสร้างข้อมูลเพิ่มให้กับสารสนเทศ
6. เครื่องมือที่สำคัญในการในการจัดการสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร?
4. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ?
4. เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้มีการสร้างที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ
8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ช่วยงานด้านสารสนเทศ?
3. เครื่องมินิคอมพิวเตอร์
9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ?
3. ไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
10. ข้อใดคือประโยชน์ที่ได้จากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการเรียน?
4. ถูกทุกข้อ
1. การประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เป็นความหมายของข้อใด?
2. เทศโนโลยี
2. เทคโนโลยีสารสนเทศใดก่อให้เกิดผลด้านการเสริมสร้างความเท่าเทียมกันในสังคม?
3. การสร้างสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3. การฝากถอนเงินผ่านเอทีเอ็ม (ATM) เป็นลักษณะเด่นของเทคโนโลยีสารสนเทศข้อใด?
1. ระบบอัตโนมัติ
4. ข้อใดคือการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ?
4. ถูกทุกข้อ
5. เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงข้อใด?
3. การนำเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์มาสร้างข้อมูลเพิ่มให้กับสารสนเทศ
6. เครื่องมือที่สำคัญในการในการจัดการสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร?
4. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ?
4. เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้มีการสร้างที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ
8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ช่วยงานด้านสารสนเทศ?
3. เครื่องมินิคอมพิวเตอร์
9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ?
3. ไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
10. ข้อใดคือประโยชน์ที่ได้จากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการเรียน?
4. ถูกทุกข้อ
แบบฝึกหัดบทที่ 7 ความปลอดภัยของสารสนเทศ
1. หน้าที่ของไฟร์วอลล์ (Firewall) คือ
ตอบ มาตรการหนึ่งที่ใช้ต่อสู้กับไวรัสคือ ไฟร์วอลล์ อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนในสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ เป็นอย่างมาก โดยผู้คนเหล่านั้นต้องการเชื่อมต่อเครือข่ายของตนเองกับอินเตอร์เน็ตเพื่อ ที่จะได้รับประโยชน์ต่าง ๆ เช่นเพื่อหาข้อมูลเพื่อทำการค้า เป็นต้น แต่การกระทำดังกล่าวทำให้ใครก็ได้บนอินเตอร์เน็ตสามารถเข้ามายังเครือข่าย นั้น ๆ ได้ จึงเกิดปัญหาเรื่องความปลอดภัยของระบบเครือข่ายเช่นการถูกระบบ และขโมยข้อมูล เป็นต้น
จากปัญหาดังกล่าวทำให้เราต้องมีวิธีการในการรักษาความปลอดภัย สิ่งที่สามารถชวยลดความเสี่ยงนี้ได้ก็คือ ไฟร์วอลล์
ไฟร์วอลล์ คือ รูปแบบของโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่ถูกจัดตั้งอยู่บนเครือข่ายเพื่อทำหน้าที่ เป็นเครื่องมือรักษาความปลอดภัยให้กับเครือข่ายภายใน (Internet) โดยป้องกันผู้บุกรุก (Intrusion) ที่มาจากเครือข่ายภายนอก (Internet) หรือเป็นการกำหนดนโยบายการควบคุมการเข้าถึงระหว่างเครือข่ายสองเครือข่าย โดยสามารถกระทำได้โดยวิธีแตกต่างกันไป แล้วแต่ระบบ
ถ้าผู้บุกรุกมาจากเครือข่ายภายในระบบนี้จะป้องกันไม่ได้ สิที่ป้องกัน เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus), หนอนคอมพิวเตอร์ (worm), การโจมตีแบบ Dos (Denial of service), ม้าโทรจัน (Trojan Horse), ip spoofing ฯลฯ โดยมีลักษณะการบุกรุกดังนี้ เช่น
- Virus จะแย่งให้หรือทำลายทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ เช่น ไฟล์ข้อมูล, แรม ฯ
- Worm จะแย่งใช้ทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ เช่นเขียนไฟล์ขยะลงบนฮาร์ดดิสก์ จนทำให้ฮาร์ดดิสก์เต็ม
ไฟร์วอลล์ มีขีดความสามารถในการไม่อนุญาตการ Login สำหรับผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ในการเข้าใช้งานในเครือข่าย แต่ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์ใช้งานจะมีสิทธิ์ใช้งานทั้งภายใน และติดต่อภายนอกเครือข่ายได้ โยจำกัดข้อมูลจากภายนอกเครือข่าย ไม่ให้เข้ามาในเครือข่าย นับเป็นจุดสังเกตการณ์ตรวจจับและรักษาความปลอดภัยของเครือข่าย เปรียบได้ดังยามที่ทำหน้าที่เผ้าประตูเมือง
อย่างไรก็ตาม Firewall ไม่สามารถป้องกันการโจมตีจากภายในเครือข่ายกันเอง รวมทั้งไม่สามารป้องกันการบุกรุกที่ไม่สามารถมากับโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ไวรัส และอันตรายในรูปแบบวิธีใหม่ ๆ ได้ สรุปว่า Firewall นั้นจำทำหน้าที่ป้องกันอันตรายต่าง ๆ จากภายนอกที่จะเข้ามายังเครือข่ายของเรานั่นเอง
Firewall ที่ใช้งาน จะมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ก็ยังต้องขึ้นอยู่กับนโยบายขององค์กรนั้น ๆ รวมถึงจิตสำนึกในการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้ในองค์กรเป็นสำคัญ
2. จงอธิบายคำศัพท์ต่อไปนี้ ที่เกี่ยวข้องกับไวรัสคอมพิวเตอร์ worm , virus computer, spy ware, adware มาอย่างน้อย 1 โปรแกรม
ตอบ เวอร์ม (Worm)
เวอร์มหรือมาโครไวรัส (Macro Virus) หมายถึงโปรแกรมซึ่งเป็นอิสระจากโปรแกรมอื่น ๆ โดยจะแพร่กระจายผ่านเครือข่ายไปยังคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ที่อยู่บนเครือข่ายการแพร่กระจายจะคล้ายกับตัวหนอนที่เจาะไซหรือซอกซอนไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ และแพร่พันธุ์ด้วยการคัดลอก (Copy) ตนเองออกและส่งต่อผ่านเครือข่ายออกไป เวอร์มเป็นไวรัสชนิดหนึ่งที่ใช้มาโครโปรแกรม (Macro Programming) ที่อยู่ในโปรแกรมประยุกต์ในการกระจายหรือแพร่พันธุ์ตัวเอง เช่น มาโครในโปรแกรมไมโครซอฟต์เวอร์ด(Microsoft Word) หรือไมโครซอร์ฟเอ็กเซล (Microsoft Excel) ดังนั้นเมื่อมีการรันโปรแกรมสคริปต์หรือมาโคร เวอร์มจะทำการแพร่กระจายตนเอง ตัวอย่างเช่น เวอร์มที่แนบมากับแฟ้มในอีเมล เมื่อผู้รับเปิดแฟ้มดังกล่าว เวอร์จะเริ่มทำงานทันทีโดจะคัดลอกตนเองและจะถูกส่งไปกับอีกเมลไปให้ผู้อื่น ต่อ ๆ ไป
3. ไวรัสคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง
ตอบ ไวรัสคอมพิวเตอร์ มี 5 ชนิด
1. บู๊ตเซ็กเตอร์ไวรัส หรือบู๊ตอินเฟ็กเตอร์ไวรัส (Boot Sector Viruses / Boot Infector Viruses)
2. โปรแกรมไวรัส หรือ ไฟล์อินเฟ็กเตอร์ไวรัส (Program Viruses / File Infector Viruses)
3. โพลีมอร์ฟิกไวรัส (Polymorphic Viruses)
4. มาโครไวรัส (Macro Viruses)
5. สเตลท์ไวรัส (Stealth Viruses)
4. ให้นิสิตอธิบายแนวทางในการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์มาอย่างน้อย 5 ข้อ
ตอบ 1.ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
2.ติดตั้งโปรแกรมอุดช่องโหว่(patch) โดยการอัปเดตซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ให้ใหม่อยู่เสมอ
3.ปรับแต่งให้ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานปลอดภัยสูงที่สุด
4.ระวังภัยจากการเปิดไฟล์จากสื่อบันทึกข้อมูล(Media) ต่าง ๆ
5.ตระหนักถึงความเสี่ยงของไฟล์ที่ดาวน์โหลด หรือได้รับจากทางอินเตอร์เน็ต
5.มาตรการด้านจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน ได้แก่
ตอบ ปัจจุบัน ภัยคุกคามอันเกิดจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตมีมากมาย หนึ่งในภัยจากอินเทอร์เน็ตคือเรื่องเว็บลามกอนาจาร ปัจจุบันมีความพยายามที่จะแก้ไขปราบปรามการเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง โดยมีประเด็นนี้คือ
“ผู้ใดประสงค์แจกจ่ายแสดง อวดทำ ผลิตแก่ประชาชนหรือทำให้เผยแพร่ซึ่งเอกสาร ภาพระบายสี สิ่งพิมพ์ แถบยันทึกเสียง บันทึกภาพหรือเกี่ยวเนื่องกับสิ่งพิมพ์ดังกล่าว มีโทษจำคุก ปรับ หรือทั้งจำทั้งปรับ”
โดยจะบังคับใช้กับผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต เซิร์ฟเวอร์ รวมถึงสื่อทุกประเภทอย่างจริงจัง ตัวอย่างซอฟต์แวร์เพื่อดูแลการแก้ไขและป้องกันภายทางอินเทอร์เน็ต ได้แก่ เอาส์ คีพเปอร์ (House Keeper) เป็นโปรแกรมสำกรับแก้ปัญหา “ภาพลามกอนาจาร เนื้อหาสาระที่ไม่เหมาะสม การใช้เว็บไม่เหมาะสมไม่ควร ฯลฯ” โดยนำไปติดตั้งกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บ้าน สารวัตรอินเตอร์เน็ตหรือไซเบอร์อินสเปคเตอร์เป็นอีกหน่วยงานที่สอดส่องภัย อินเทอร์เน็ต สารวัตรอินเทอร์เน็ตร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้บล็อกเว็บไซต์ไม่เหมาะ สมและเก็บฐานข้อมูลไว้
นโยบายจากกระทรวงไอซีที ด้วยตระหนักในการทวีความรุนแรงของปัญหา จึงเกิดโครงการ ไอซีที ไซเบอร์แคร์ (ICT Cyber Care) โดยต่อยอดจากไอซีทีไซเบอร์คลีน (ICT Cyber Clean) แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ
1) ICT Gate Keeper เฝ้าระวังพิษภัยอินเทอร์เน็ตบนเครือข่ายและวงจรเชื่อมต่อระหว่างประเทศ (Gateway) พัฒนาซอฟต์แวร์นี้โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงไอซีที ได้มอบหมายให้บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด(มหาชน) ดำเนินการเพื่อเฝ้าระวังปิดกั้นข้อมูบไม่เหมาะสมตั้งแต่ต้นทาง
2) House Keeper ซึ่งจัดทำเป็นแผ่นซีดีรอม และแจกฟรีให้กับผู้ปกครองหรือดาวน์โหลดได้ฟรีจากเว็บไซต์ของกระทรวง โปรแกรมนี้จะมี 3 ส่วน
- ส่วนแรก คิดดี้แคร์ ปิดกั้นเว็บไซต์อนาจารและเว็บที่ไม่เหมาะสมที่กระทรวงไอซีที มีข้อมูลคาดว่าจะช่วยป้องกันได้ในระดับหนึ่ง
- ต่อมาเป็นส่วนพีเพิลคลีน ติดไอคอนไวที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะคลิกเข้าไปเมื่อพบภาพลามกอนาจาร ประชาชนจึงสามารถเข้ามามีบทบาทช่วยเฝ้าระวังภัยได้เช่นกัน
- ส่วนสุดท้าย สมาร์ทเกมเมอร์ (Smart Gamer) แก้ปัญหาการติดแกม และควบคุมการเล่นเกมของเด็ก ๆ ผู้ปกครองจะเป็นผู้กำหนดระยะเวลาของการเล่นเกมและช่วยดูแลเรื่องความรุนแรง ของเกม แต่ละส่วนนี้คงต้องมีการปรับปรุงให้ทันสมัยตลอดเวลา
โปรแกรมนี้จะพอช่วยบรรเทาปัญหาและเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้งานบนอิน เทอร์เน็ตจาผองภัย เช่น กลุ่มเว็บโป้ ลามกอนาจาร กลุ่มเว็บกระตุ้นอารมณ์ทางเพศ กลุ่มเว็บสอนใช้ความรุนแรง ทารุณ สอนเพศศึกษาแบบผิด ๆ ใช้ภาษาหยาบคาย สอนขโมยข้อมูลคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ตอบ มาตรการหนึ่งที่ใช้ต่อสู้กับไวรัสคือ ไฟร์วอลล์ อินเทอร์เน็ตมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนในสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ เป็นอย่างมาก โดยผู้คนเหล่านั้นต้องการเชื่อมต่อเครือข่ายของตนเองกับอินเตอร์เน็ตเพื่อ ที่จะได้รับประโยชน์ต่าง ๆ เช่นเพื่อหาข้อมูลเพื่อทำการค้า เป็นต้น แต่การกระทำดังกล่าวทำให้ใครก็ได้บนอินเตอร์เน็ตสามารถเข้ามายังเครือข่าย นั้น ๆ ได้ จึงเกิดปัญหาเรื่องความปลอดภัยของระบบเครือข่ายเช่นการถูกระบบ และขโมยข้อมูล เป็นต้น
จากปัญหาดังกล่าวทำให้เราต้องมีวิธีการในการรักษาความปลอดภัย สิ่งที่สามารถชวยลดความเสี่ยงนี้ได้ก็คือ ไฟร์วอลล์
ไฟร์วอลล์ คือ รูปแบบของโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่ถูกจัดตั้งอยู่บนเครือข่ายเพื่อทำหน้าที่ เป็นเครื่องมือรักษาความปลอดภัยให้กับเครือข่ายภายใน (Internet) โดยป้องกันผู้บุกรุก (Intrusion) ที่มาจากเครือข่ายภายนอก (Internet) หรือเป็นการกำหนดนโยบายการควบคุมการเข้าถึงระหว่างเครือข่ายสองเครือข่าย โดยสามารถกระทำได้โดยวิธีแตกต่างกันไป แล้วแต่ระบบ
ถ้าผู้บุกรุกมาจากเครือข่ายภายในระบบนี้จะป้องกันไม่ได้ สิที่ป้องกัน เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus), หนอนคอมพิวเตอร์ (worm), การโจมตีแบบ Dos (Denial of service), ม้าโทรจัน (Trojan Horse), ip spoofing ฯลฯ โดยมีลักษณะการบุกรุกดังนี้ เช่น
- Virus จะแย่งให้หรือทำลายทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ เช่น ไฟล์ข้อมูล, แรม ฯ
- Worm จะแย่งใช้ทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ เช่นเขียนไฟล์ขยะลงบนฮาร์ดดิสก์ จนทำให้ฮาร์ดดิสก์เต็ม
ไฟร์วอลล์ มีขีดความสามารถในการไม่อนุญาตการ Login สำหรับผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ในการเข้าใช้งานในเครือข่าย แต่ผู้ใช้ที่มีสิทธิ์ใช้งานจะมีสิทธิ์ใช้งานทั้งภายใน และติดต่อภายนอกเครือข่ายได้ โยจำกัดข้อมูลจากภายนอกเครือข่าย ไม่ให้เข้ามาในเครือข่าย นับเป็นจุดสังเกตการณ์ตรวจจับและรักษาความปลอดภัยของเครือข่าย เปรียบได้ดังยามที่ทำหน้าที่เผ้าประตูเมือง
อย่างไรก็ตาม Firewall ไม่สามารถป้องกันการโจมตีจากภายในเครือข่ายกันเอง รวมทั้งไม่สามารป้องกันการบุกรุกที่ไม่สามารถมากับโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ไวรัส และอันตรายในรูปแบบวิธีใหม่ ๆ ได้ สรุปว่า Firewall นั้นจำทำหน้าที่ป้องกันอันตรายต่าง ๆ จากภายนอกที่จะเข้ามายังเครือข่ายของเรานั่นเอง
Firewall ที่ใช้งาน จะมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ก็ยังต้องขึ้นอยู่กับนโยบายขององค์กรนั้น ๆ รวมถึงจิตสำนึกในการใช้งานเครือข่ายของผู้ใช้ในองค์กรเป็นสำคัญ
2. จงอธิบายคำศัพท์ต่อไปนี้ ที่เกี่ยวข้องกับไวรัสคอมพิวเตอร์ worm , virus computer, spy ware, adware มาอย่างน้อย 1 โปรแกรม
ตอบ เวอร์ม (Worm)
เวอร์มหรือมาโครไวรัส (Macro Virus) หมายถึงโปรแกรมซึ่งเป็นอิสระจากโปรแกรมอื่น ๆ โดยจะแพร่กระจายผ่านเครือข่ายไปยังคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ที่อยู่บนเครือข่ายการแพร่กระจายจะคล้ายกับตัวหนอนที่เจาะไซหรือซอกซอนไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์อื่น ๆ และแพร่พันธุ์ด้วยการคัดลอก (Copy) ตนเองออกและส่งต่อผ่านเครือข่ายออกไป เวอร์มเป็นไวรัสชนิดหนึ่งที่ใช้มาโครโปรแกรม (Macro Programming) ที่อยู่ในโปรแกรมประยุกต์ในการกระจายหรือแพร่พันธุ์ตัวเอง เช่น มาโครในโปรแกรมไมโครซอฟต์เวอร์ด(Microsoft Word) หรือไมโครซอร์ฟเอ็กเซล (Microsoft Excel) ดังนั้นเมื่อมีการรันโปรแกรมสคริปต์หรือมาโคร เวอร์มจะทำการแพร่กระจายตนเอง ตัวอย่างเช่น เวอร์มที่แนบมากับแฟ้มในอีเมล เมื่อผู้รับเปิดแฟ้มดังกล่าว เวอร์จะเริ่มทำงานทันทีโดจะคัดลอกตนเองและจะถูกส่งไปกับอีกเมลไปให้ผู้อื่น ต่อ ๆ ไป
3. ไวรัสคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง
ตอบ ไวรัสคอมพิวเตอร์ มี 5 ชนิด
1. บู๊ตเซ็กเตอร์ไวรัส หรือบู๊ตอินเฟ็กเตอร์ไวรัส (Boot Sector Viruses / Boot Infector Viruses)
2. โปรแกรมไวรัส หรือ ไฟล์อินเฟ็กเตอร์ไวรัส (Program Viruses / File Infector Viruses)
3. โพลีมอร์ฟิกไวรัส (Polymorphic Viruses)
4. มาโครไวรัส (Macro Viruses)
5. สเตลท์ไวรัส (Stealth Viruses)
4. ให้นิสิตอธิบายแนวทางในการป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์มาอย่างน้อย 5 ข้อ
ตอบ 1.ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสและอัปเดตข้อมูลไวรัสอยู่เสมอ
2.ติดตั้งโปรแกรมอุดช่องโหว่(patch) โดยการอัปเดตซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ให้ใหม่อยู่เสมอ
3.ปรับแต่งให้ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานปลอดภัยสูงที่สุด
4.ระวังภัยจากการเปิดไฟล์จากสื่อบันทึกข้อมูล(Media) ต่าง ๆ
5.ตระหนักถึงความเสี่ยงของไฟล์ที่ดาวน์โหลด หรือได้รับจากทางอินเตอร์เน็ต
5.มาตรการด้านจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน ได้แก่
ตอบ ปัจจุบัน ภัยคุกคามอันเกิดจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตมีมากมาย หนึ่งในภัยจากอินเทอร์เน็ตคือเรื่องเว็บลามกอนาจาร ปัจจุบันมีความพยายามที่จะแก้ไขปราบปรามการเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง โดยมีประเด็นนี้คือ
“ผู้ใดประสงค์แจกจ่ายแสดง อวดทำ ผลิตแก่ประชาชนหรือทำให้เผยแพร่ซึ่งเอกสาร ภาพระบายสี สิ่งพิมพ์ แถบยันทึกเสียง บันทึกภาพหรือเกี่ยวเนื่องกับสิ่งพิมพ์ดังกล่าว มีโทษจำคุก ปรับ หรือทั้งจำทั้งปรับ”
โดยจะบังคับใช้กับผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ต เซิร์ฟเวอร์ รวมถึงสื่อทุกประเภทอย่างจริงจัง ตัวอย่างซอฟต์แวร์เพื่อดูแลการแก้ไขและป้องกันภายทางอินเทอร์เน็ต ได้แก่ เอาส์ คีพเปอร์ (House Keeper) เป็นโปรแกรมสำกรับแก้ปัญหา “ภาพลามกอนาจาร เนื้อหาสาระที่ไม่เหมาะสม การใช้เว็บไม่เหมาะสมไม่ควร ฯลฯ” โดยนำไปติดตั้งกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บ้าน สารวัตรอินเตอร์เน็ตหรือไซเบอร์อินสเปคเตอร์เป็นอีกหน่วยงานที่สอดส่องภัย อินเทอร์เน็ต สารวัตรอินเทอร์เน็ตร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้บล็อกเว็บไซต์ไม่เหมาะ สมและเก็บฐานข้อมูลไว้
นโยบายจากกระทรวงไอซีที ด้วยตระหนักในการทวีความรุนแรงของปัญหา จึงเกิดโครงการ ไอซีที ไซเบอร์แคร์ (ICT Cyber Care) โดยต่อยอดจากไอซีทีไซเบอร์คลีน (ICT Cyber Clean) แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ
1) ICT Gate Keeper เฝ้าระวังพิษภัยอินเทอร์เน็ตบนเครือข่ายและวงจรเชื่อมต่อระหว่างประเทศ (Gateway) พัฒนาซอฟต์แวร์นี้โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงไอซีที ได้มอบหมายให้บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด(มหาชน) ดำเนินการเพื่อเฝ้าระวังปิดกั้นข้อมูบไม่เหมาะสมตั้งแต่ต้นทาง
2) House Keeper ซึ่งจัดทำเป็นแผ่นซีดีรอม และแจกฟรีให้กับผู้ปกครองหรือดาวน์โหลดได้ฟรีจากเว็บไซต์ของกระทรวง โปรแกรมนี้จะมี 3 ส่วน
- ส่วนแรก คิดดี้แคร์ ปิดกั้นเว็บไซต์อนาจารและเว็บที่ไม่เหมาะสมที่กระทรวงไอซีที มีข้อมูลคาดว่าจะช่วยป้องกันได้ในระดับหนึ่ง
- ต่อมาเป็นส่วนพีเพิลคลีน ติดไอคอนไวที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้จะคลิกเข้าไปเมื่อพบภาพลามกอนาจาร ประชาชนจึงสามารถเข้ามามีบทบาทช่วยเฝ้าระวังภัยได้เช่นกัน
- ส่วนสุดท้าย สมาร์ทเกมเมอร์ (Smart Gamer) แก้ปัญหาการติดแกม และควบคุมการเล่นเกมของเด็ก ๆ ผู้ปกครองจะเป็นผู้กำหนดระยะเวลาของการเล่นเกมและช่วยดูแลเรื่องความรุนแรง ของเกม แต่ละส่วนนี้คงต้องมีการปรับปรุงให้ทันสมัยตลอดเวลา
โปรแกรมนี้จะพอช่วยบรรเทาปัญหาและเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้งานบนอิน เทอร์เน็ตจาผองภัย เช่น กลุ่มเว็บโป้ ลามกอนาจาร กลุ่มเว็บกระตุ้นอารมณ์ทางเพศ กลุ่มเว็บสอนใช้ความรุนแรง ทารุณ สอนเพศศึกษาแบบผิด ๆ ใช้ภาษาหยาบคาย สอนขโมยข้อมูลคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
แบบฝึกหัดบทที่8การใช้สารสนเทศตามกฎหมายและจริยธรรม
คำชี้แจง จงพิจารณากรณีศึกษานี้
1) “นาย A ทำการเขียนโปรแกรมขึ้นมาโปรแกรมหนึ่งเพื่อทดลองโจมตีการทำงานของคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ โดยทำการระบุ IP-Address โปรแกรมนี้สร้างขึ้นมาเพื่อทดลองในงานวิจัย นาย B ที่ เป็นเพื่อนสนิทของนาย A ได้นำโปรแกรมนี้ไปทดลองใช้แกล้งนางสาว C เมื่อนางสาว C ทราบเข้าก็เลยนำโปรแกรมนี้ไปใช้และส่งต่อให้เพื่อนๆ ที่รู้จักได้ทดลอง” การกระทำอย่างนี้ ผิดจริยธรรม หรือผิดกฎหมาย ใดๆ หรือไม่ หากไม่ผิดเพราะเหตุใด และหากผิด ผิดในแง่ไหน จงอธิบาย
ตอบ ผิด เพราะ นาย A เป็นคนเขียนคนเขียนโปรแกรมขึ้นมาเพื่อวิจัย แต่นาย B นำโปรแกรมไปใช้เพื่อความสนุกของตนเองโดยการแกล้งนางสาว C และนางสาว C ก็นำไปแกล้งคนอื่นต่อเพื่อความสนุกของตนเอง จึงอาจทำให้ผู้อื่นลำบาก
2) “นาย J ได้ทำการสร้างโฮมเพจ เพื่อบอกว่าโลกแบนโดยมีหลักฐาน อ้างอิงจากตำราต่างๆ อีกทั้ง รูปประกอบ เป็นการทำเพื่อความสนุกสนาน ไม่ได้ใช้ในการอ้างอิงทางวิชาการใดๆ เด็กชาย K เป็นนักเรียน ในระดับประถมปลายที่ทำรายงานส่งครูเป็นการบ้านภาคฤดูร้อนโดยใช้ข้อมูลจากโฮ มเพจของนาย J” การ กระทำอย่างนี้ ผิดจริยธรรม หรือผิดกฎหมายใดๆ หรือไม่ หากไม่ผิดเพราะเหตุใด และหากผิด ผิดในแง่ไหน จงอธิบาย
ตอบ ผิด เพราะการเขียนโฮมเพจที่มีสาระต้องเขียนเฉพาะสิ่งที่เป็นความจริงเท่านั้น เพราะมันมีคนที่หาสาระ งาน หรือเนื้อหาในอินเตอร์เน็ตเยอะมาก
1) “นาย A ทำการเขียนโปรแกรมขึ้นมาโปรแกรมหนึ่งเพื่อทดลองโจมตีการทำงานของคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งานได้ โดยทำการระบุ IP-Address โปรแกรมนี้สร้างขึ้นมาเพื่อทดลองในงานวิจัย นาย B ที่ เป็นเพื่อนสนิทของนาย A ได้นำโปรแกรมนี้ไปทดลองใช้แกล้งนางสาว C เมื่อนางสาว C ทราบเข้าก็เลยนำโปรแกรมนี้ไปใช้และส่งต่อให้เพื่อนๆ ที่รู้จักได้ทดลอง” การกระทำอย่างนี้ ผิดจริยธรรม หรือผิดกฎหมาย ใดๆ หรือไม่ หากไม่ผิดเพราะเหตุใด และหากผิด ผิดในแง่ไหน จงอธิบาย
ตอบ ผิด เพราะ นาย A เป็นคนเขียนคนเขียนโปรแกรมขึ้นมาเพื่อวิจัย แต่นาย B นำโปรแกรมไปใช้เพื่อความสนุกของตนเองโดยการแกล้งนางสาว C และนางสาว C ก็นำไปแกล้งคนอื่นต่อเพื่อความสนุกของตนเอง จึงอาจทำให้ผู้อื่นลำบาก
2) “นาย J ได้ทำการสร้างโฮมเพจ เพื่อบอกว่าโลกแบนโดยมีหลักฐาน อ้างอิงจากตำราต่างๆ อีกทั้ง รูปประกอบ เป็นการทำเพื่อความสนุกสนาน ไม่ได้ใช้ในการอ้างอิงทางวิชาการใดๆ เด็กชาย K เป็นนักเรียน ในระดับประถมปลายที่ทำรายงานส่งครูเป็นการบ้านภาคฤดูร้อนโดยใช้ข้อมูลจากโฮ มเพจของนาย J” การ กระทำอย่างนี้ ผิดจริยธรรม หรือผิดกฎหมายใดๆ หรือไม่ หากไม่ผิดเพราะเหตุใด และหากผิด ผิดในแง่ไหน จงอธิบาย
ตอบ ผิด เพราะการเขียนโฮมเพจที่มีสาระต้องเขียนเฉพาะสิ่งที่เป็นความจริงเท่านั้น เพราะมันมีคนที่หาสาระ งาน หรือเนื้อหาในอินเตอร์เน็ตเยอะมาก